เครื่องหมายการค้าเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงลักษณะเฉพาะของธุรกิจนั้นๆ ที่แตกต่างจากธุรกิจอื่นๆ หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นเครื่องหมายที่บ่งบอกถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์นั้นๆ อาจจะเรียกได้ว่าเป็น “แบรนด์ของบริษัท” ก็ย่อมได้ โดยการที่เลือกสัญลักษณ์ที่เหมาะสมนำมาใช้สร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์หรือบริการของคุณควบคู่ไปกับการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เครื่องหมายการค้านั้นอาจจะกลายเป็นสินทรัพย์ที่มีค่าอันมหาศาลต่อบริษัทของคุณก็เป็นได้.

เครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียนแล้วนำมาซึ่งสิทธิเด็ดขาดแก่เจ้าของเครื่องหมายนั้นๆ ในการใช้และดำรงรักษาเครื่องหมายนั้นๆ ได้ ตราบใดที่ไม่มีการปฏิเสธจากสำนักเครื่องหมายการค้าในแต่ละประเทศหรือโต้แย้งสิทธิจากบุคคลภายนอก ในกรณีที่มีอุปสรรคใดๆ เกิดขึ้นกับเครื่องหมายของคุณ ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมายของเราพร้อมเสมอที่จะให้คำแนะนำที่ดีสำหรับคุณ.

ดังนั้น ไม่ว่าคุณกำลังมองหาหนทางที่จะสร้างแบรนด์ให้กับตัวคุณเองด้วยเครื่องหมายการค้าที่โดดเด่นและแตกต่าง หรือกรณีระงับข้อพิพาททางกฎหมายก็ตาม ฝ่ายกฎหมายของเราสามารถช่วยท่านแก้ปัญหาหาทางออกที่ตรงตามความต้องการของคุณ .


การยื่นคำขอ


เครื่องหมายการค้าเป็นสัญลักษณ์ที่มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการบ่งบอกถึงแหล่งที่มาของสินค้าและบริการ นั่นก็คือเป็นการสร้างความแตกต่างให้กับสินค้านั่นเอง ซึ่งเครื่องหมายการค้าอาจเป็นได้ทั้งชื่อ รูปภาพ (โลโก้) หรือรูปภาพที่มีลักษณะเฉพาะอื่นๆ เครื่องหมายการค้าอันสามารถที่จะได้รับการจดทะเบียนได้นั้น จะต้องมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ .

  1. ชื่อที่มีลักษณะพิเศษ;
  2. ลายมือชื่อของผู้ขอจดทะเบียน;
  3. คำประดิษฐ์ ;
  4. คำอันไม่ได้เล็งถึงลักษณะหรือคุณสมบัติของสินค้าโดยตรง
  5. เครื่องหมายที่มีลักษณะบ่งเฉพาะ.

ระยะเวลาคุ้มครอง

สำหรับเครื่องหมายการค้าจะมีระยะเวลาคุ้มครอง 10 ปีนับจากวันที่ยื่นคำขอและสามารถต่ออายุได้ทุกๆ 10 ปี โดยไม่จำกัดครั้ง.

บุคคลผู้สามารถยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า?


บุคคลใดก็ตามที่เป็นผู้มีสิทธิในเครื่องหมายสามารถที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายดังกล่าวได้ถ้าบุคคลนั้นได้มีการใช้หรือมีเจตนาที่จะใช้เครื่องหมายดังกล่าว เฉพาะนิติบุคคลโดยชอบตามกฎหมายผู้เป็นเจ้าของเครื่องหมายเท่านั้นที่สามารถที่จะยื่นคำขอจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าได้ บุคคลใดก็ตามที่เป็นผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลดังกล่าวจะต้องระบุด้วยว่ามีอำนาจที่จะกระทำการดังกล่าวได้ ผู้ขอที่เป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ นิติบุคคลนั้นรวมถึงหน่วยงานใดๆ ที่มีสิทธิในการฟ้องร้องตามกฎหมายได้ ดังนั้นทั้งบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลต่างก็เป็นบุคคลภายใต้พระราชบัญญัติเครื่องหมายการค้านี้ บุคคลธรรมดานั้นเพียงแค่ลงนามก็เพียงพอที่จะใช้ในทางกฎหมายได้แล้ว ไม่จำเป็นจะต้องมีการประทับตราใดๆ สำหรับนิติบุคคลนั้น จะต้องมีการลงนามโดยบุคคลผู้มีอำนาจลงนามแทนนิติบุคคลพร้อมทั้งประทับตรานิติบุคคล เอกสารที่ยื่นต่อทางราชการนั้น โดยทั่วไปมักจะลงนามโดยกรรมการบริษัทหรือบุคคลอื่นใดที่มีอำนาจกระทำการดังกล่าว .

ห้างหุ้นส่วน

หุ้นส่วนสามารถที่จะเป็นเจ้าของเครื่องหมายการค้าได้และสามารถที่จะเป็นผู้ยื่นคำขอจดทะเบียนได้ ในคำขอจะต้องประกอบด้วยชื่อของหุ้นส่วนทั้งหมดพร้อมทั้งมีการลงนามโดยหุ้นส่วนทุกคนหรือเฉพาะบุคคลที่มีอำนาจกระทำการแทนตามกฎหมายห้างหุ้นส่วนก็ได้.

กิจการร่วมค้า

เมื่อนิติบุคคลสององค์กรหรือมากกว่าได้มีการรวมกิจการกันเพื่อวัตถุประสงค์ในทางการค้าก็สามารถที่จะใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกันสำหรับกิจการร่วมค้าได้ ในกรณีนี้ คำขอสำหรับการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าจะต้องลงนามโดยหุ้นส่วนทุกคนหรือโดยบุคคลที่อำนาจกระทำการแทน.

รัฐบาลและหน่วยงานราชการอื่นๆ

หน่วยงานราชการรวมทั้งองค์กรต่างๆ ของรัฐ ก็สามารถที่จะจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าได้ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของประเทศมาเลเซียหรือประเทศอื่นก็ตาม .

การต่ออายุเครื่องหมายการค้า


การจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าจะมีระยะเวลาคุ้มครองเป็นเวลา 10 ปีนับจากวันที่ยื่นคำขอโดยที่สามารถที่จะชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุได้ทุกๆ 10 ปี โดยไม่จำกัดครั้ง .

การชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุสามารถชำระได้ภายใน 2 เดือนก่อนถึงกำหนด และหากภายใน 1 เดือนก่อนครบกำหนดแล้วผู้ขอยังไม่ชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุ นายทะเบียนจะมีการออกหนังสือแจ้งเตือนให้เจ้าของเครื่องหมายการค้าทราบถึงกำหนดการชำระดังกล่าว หากถึงกำหนดเวลาการชำระแล้วไม่มีการชำระค่าธรรมเนียมต่ออายุ จะถือว่าเป็นการละทิ้งเครื่องหมายการค้านั้นๆ นายทะเบียนจะทำการเพิกถอนเครื่องหมายการค้านั้น แต่อย่างไรก็ตามผู้ขอสามารถยื่นคำร้องขอฟื้นการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้านั้นได้ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ หากภายใน 1 ปีนับจากวันที่ครบกำหนดการชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุแล้วยังไม่มีการชำระค่าธรรมเนียมการต่ออายุ จะถือว่าเครื่องหมายการค้านั้นถูกเพิกถอนโดยสิ้นเชิง ไม่อาจที่จะชำระค่าธรรมเนียมได้อีกต่อไป .

Flowchart for Trademark Registration Process


Unregistrable Marks


There are many signs which fall within the definition of a mark, and which are capable of being used as trade marks, but which are specifically prohibited from being registered as trade marks for one reason or another.

The common group comprises those marks, which are likely to confuse or deceive the public.

In addition to these general categories, there are certain specific prohibitions.

For some, refusal is mandatory; for others, refusal is a matter for the Registrar's discretion.

Scandalous Or Offensive Matter


Section 14(b) provides that a mark, or part of a mark, shall not be registered as a trade mark "if it contains or comprises any scandalous or offensive matter or would not otherwise be entitled to protection in any court of law.

The United Kingdom statute is not the same as that employed in the Malaysian Act; it prohibits marks, which are "contrary to law or morality, or any scandalous design".

In seeking to apply these principles to trade mark registration in Malaysia, it should be noted that Malaysia is a multi-racial country and proper regard should be had to the religious susceptibilities of substantial minorities.

In the author's view, care and sensitivity must be undertaken to avoid conflicting marks from the religious, cultural and racial prospective.

Prejudicial To The Interest Or Security Of The Nation And Contrary To Law


Section 14(c) gives the Registrar the responsibility of determining what matter, in a trade mark, is or might be prejudicial to the interest or security of the nation.

It may be that a mark contains an inflammatory statement or words, which could be considered so.

Determining which marks are contrary to law or unprotectable in a court presents more of a problem.

If a mark consists of a device, it may be assumed that the applicant owns the copyright in it.

Marks Claiming Intellectual Property Rights


Section 15(a) provides that any trade mark, which consists of, or contains, any of the following marks must be refused registration:

  1. Patent, Patented, By Royal Letters Patent;
  2. Registered, Registered Design;
  3. Copyright; or
  4. A word or words to the like effect (as any of the above), in any language whatsoever.

Anyone who falsely represents that an unregistered mark is in fact registered is guilty of a criminal offence and liable to a fine or period of imprisonment, or both - section 81. Regulation 13 provides a list of additional prohibited marks including; "To counterfeit this is a forgery", "Registered Trade Mark", "Registered service mark" or any words to the like effect of these prohibited words as well as "Bunga Raya" and the representations of the hibiscus.

Trademark Examination Procedure


The examination of every application for registration includes a search for prior rights.

In deciding any question of possible conflict between two applications or between an application and a registered trade mark, there are two main factors before raising an objection under this section.

  1. Whether the marks are identical or so nearly resemble each other as to be likely to deceive or cause confusion; and
  2. Whether the marks are used on the same goods or services, the same description of goods or services, or whether the goods and services are closely related.

When comparing cases, trademark examiners will consider each mark as a whole. It is clear that marks are identical if they are the same in every detail when compared side by side.

Trademark Opposition


Any person may, within the prescribed time from the date of the advertisement of an application for the registration of a trademark, give notice to the Registrar and applicant of opposition to the registration.

The notice shall be filed according to the prescribed manner within the above said time frame.

If no opposition were filed during the statutory opposition period, then the Registrar will cause the trademark application to be registered.

Who may oppose?


Any person may within two months from the date of any advertisement in the Gazette of an application for registration of a trade mark give notice in writing to the Registrar to oppose the registration of any marks.

The usual grounds for an opposition to a trade mark application would include:

  1. The applicant is not the lawful proprietor of the opposed mark;
  2. The use of the opposed mark is likely to deceive or cause confusion to the public or would be contrary to law, as stated in section 14(1)(a);
  3. The opposed mark conflicts with a pending application or a registered mark, or the use of it would amount to the tort actions of passing off;
  4. 4. The opposed mark contains scandalous or offensive matters; and
  5. 5. The opposed mark does not fulfil any criteria of section 10 TMA.

Opposition Procedure